วันศุกร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2556

พระประวัติสมเด็จพระสังฆราช


พระประวัติสมเด็จพระสังฆราช


พระประวัติสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน คชวัตร)

พระประวัติ 
สมเด็จพระญาณสังวร 
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก 
( เจริญ สุวฑฺฒโน คชวัตร) 

            เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวัฑฒนมหาเถระ) มีพระนามเดิมวา่ เจริญ นามสกุล คชวัตร ทรงมีพระชาติภูมิ ณ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๕๖ ทรงบรรพชาเป็ นสามเณรเมื่อพระชนมายุ ๑๔ พรรษา ณ วัดเทวสังฆาราม กาญจนบุรี แล้วเข้ามาอยู่ศึกษาพระปริยัติธรรม ณ วัดบวรนิเวศวิหาร จนพระชนมายุครบอุปสมบท และทรงอุปสมบท   ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๔๗๖ โดยมี สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ ได้ประทับ  ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ตลอดมาจนกระทั้งสอบได้เป็นเปรียญธรรม ๙ ประโยค เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๘๔

        เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ทรงดำรงสมณศักดิ์ มาโดยลำดับดังนี้ ทรง
เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ พระราชาคณะชั้นราช และพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ พระโศภณคณาภรณ์ ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมวราภรณ์ ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นเจ้า้คณะรองที่ พระสาสนโสภณ ทรงเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระญาณสังวร และทรงได้รับพระราชทานสถาปนาเป็น สมเด็จพระสังฆราช ในราชทินนามที่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๓๒ นับเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นผใู้คร่ในการศึกษา ทรงมีพระอัธยาศัยใฝ่ รู้ใฝ่เรียนมาต้งัแต่ทรงเป็นพระเปรียญ โดยเฉพาะในด้านภาษา ทรงศึกษาภาษาต่าง ๆ เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน จีน และ สันสกฤต จนสามารถใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี จา้กพระคุณสมเด็จพระสังฆราชเจ้า้ กรมหลวง วชิรญาณวงศ์ พระอุปัชฌายข์องพระองค์ทรงเห็นวา่ จะเพลินในการศึกษามากไป วันหนึ่งทรงเตือนวา่ ควรทำกรรมฐานเสียบ้าง เป็นเหตุให้พระองคทรงเริ่มทางกรรมฐานมาแต่บัดนั้นและตลอดมาอย่า่งต่อเนื่อง จึงทรงเป็นพระมหาเถระที่ทรงภูมิธรรมทั้งด้านปริยัติและด้านปฏิบัติ

..ทรงรอบรู้ภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะภาษาองักฤษเป็นอยา่ งดี จึงทรงศึกษาหาความรู้
สมยัใหม่ดว้ยการอ่านหนงัสือภาษาองักฤษ ท้งัทางคดีโลกและคดีธรรม เป็ นเหตุให้ทรงมีทัศนะกว้างขวาง
ทนั ต่อเหตุการณ์บา้นเมือง ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อการสั่งสอนและเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเป็นอยา่ งมาก เป็ น
เหตุใหท้ รงนิพนธ์หนงัสือทางพระพุทธศาสนาไดอ้ยา่ งสมสมยั เหมาะแก่บุคคลและสถานการณ์ในยุค
ปัจจุบัน และทรงสั่งสอนพระพุทธศาสนาท้งัแก่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ในด้านการศึกษา ได้ทรงมีพระ
ดาริทางการศึกษาที่กว้างไกล ทรงมีส่วนร่วมในการก่อต้งัมหาวทิยาลยัพระพุทธศาสนาแห่งแรกของไทย คือ
มหาวทิยาลยัมหามกุฏราชวทิยาลยัมาแต่ตน้ ทรงริเริ่มใหม้ีสานกัฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศข้ึน
เป็นคร้ังแรก เพื่อฝึกอบรมพระธรรมทูตไทยที่จะไปปฏิบตัิศาสนกิจในต่างประเทศ
ทรงเป็นพระมหาเถระไทยรูปแรกที่ไดด้าเนินงานพระธรรมทูตในต่างประเทศอยา่ งเป็นรูปธรรม โดยเริ่มจาก
ทรงเป็นประธานกรรมการอานวยการสานกัฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศเป็ นรูปแรก เสด็จไปเป็ น
ประธานสงฆใ์นพิธีเปิดวดัไทยแห่งแรกในทวปียุโรป คือวัดพุทธปทีป ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ทรงนาพระพุทธศาสนาเถรวาทไปสู่ทวปีออสเตรเลียเป็นคร้ังแรก โดยการสร้างวดัพุทธรังษีข้ึน ณ นคร
ซิดนีย์ ทรงใหก้าเนิดคณะสงฆเ์ถรวาทข้ึนในประเทศอินโดนีเซีย ทรงช่วยฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาเถรวาทใน
ประเทศเนปาล โดยเสด็จไปใหก้ารบรรพชาแก่ศากยะกุลบุตรในประเทศเนปาลเป็นคร้ังแรก ทาให้ประเพณี
การบวชฟ้ืนตวัข้ึนอีกคร้ังหน่ึงในเนปาลยคุ ปัจจุบนั ทรงเจริญศาสนไมตรีกบัองคด์ าไล ลามะ กระทงั่ เป็นที่
ทรงคุ้นเคยและได้วสิาสะกนั หลายคร้ัง และทรงเป็นพระประมุขแห่งศาสนจกัรพระองคแ์รกที่ไดร้ับทูลเชิญ
ใหเ้สด็จเยอืนสาธารณรัฐประชาชนจีนอยา่ งเป็นทางการในประวตัิศาสตร์จีน
เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ทรงปฏิบตัิพระกรณียกิจท้งัภายในประเทศ
และต่างประเทศเป็นเอนกประการ ทรงเป็ นนักวิชาการและนักวิเคราะห์ธรรมตามหลักการของ
พระพุทธศาสนา ที่เรียกวา่ ธัมมวิจยะ หรือธัมมวิจัย เพื่อแสดงใหเ้ห็นวา่ พุทธธรรมน้นั สามารถประยกุ ตใ์ช้
กบักิจกรรมของชีวติไดท้ ุกระดบั ต้งัแต่ระดบั พ้ืนฐานไปจนถึงระดบั สูงสุด ทรงมีผลงานดา้นพระนิพนธ์ท้งัที่
เป็ นภาษาไทยและภาษาองักฤษจานวนกวา่ ๑๐๐ เรื่อง ประกอบด้วยพระนิพนธ์แสดงคาสอนทาง
พระพุทธศาสนาท้งัระดบั ตน้ ระดับกลาง และระดับสูง รวมถึงความเรียงเชิงศาสนคดีอีกจานวนมาก ซึ่งล้วน
มีคุณค่าควรแก่การศึกษา สถาบนัการศึกษาของชาติหลายแห่งตระหนกัถึงพระปรีชาสามารถและคุณค่าแห่ง
งานพระนิพนธ์ ตลอดถึงพระกรณียกิจที่ทรงปฏิบตัิ จึงไดท้ ูลถวายปริญญาดุษฎีบณั ฑิตกิตติมศกัด์ิเป็นการ
เทิดพระเกียรติหลายสาขา
นอกจากพระกรณียกิจตามหนา้ที่ตาแหน่งแลว้ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ
พระสังฆราช ยังได้ทรงปฏิบัติหน้าที่พิเศษ อนั มีความสาคญั ยงิ่ อีกหลายวาระ กล่าวคือ ทรงเป็ นพระอภิบาล
ในพระภิกษุพระบาทสมเด็จพระเจา้อยหู่ วั รัชกาลปัจจุบัน เมื่อคร้ังเสด็จออกทรงพระผนวช เมื่อพุทธศักราช
๒๔๙๙ พร้อมท้งัทรงถวายความรู้ในพระธรรมวินยัตลอดระยะเวลาแห่งการทรงพระผนวช ทรงเป็ นพระราช
กรรมวาจาจารย์ ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ ามหาวชิราลงกรณ์ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อคร้ังเสด็จ
ออกทรงพระผนวชเป็ นพระภิกษุ เมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๑
เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ทรงดารงตาแหน่งหนา้ที่สาคญั ทางการคณะ
สงฆใ์นดา้นต่าง ๆ มาเป็ นลาดับ เป็นเหตุใหท้ รงปฏิบตัิพระกรณียกิจเป็นประโยชน์ต่อพระศาสนา
ประเทศชาติ และประชาชน เป็ นเอนกประการ นบัไดว้า่ ทรงเป็นพระมหาเถระที่ทรงเพียบพร้อมดว้ยอตั ต
สมบัติและปรหิตปฏิบัติ และทรงเป็ นครุฐานียบุคคลของชาติ ท้งัในดา้นพุทธจกัรและอาณาจกัร
เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ทรงเป็ นที่เคารพสักการะตลอดไปถึง
พุทธศาสนิกชนในนานาประเทศ ดว้ยเหตุน้ี ทางรัฐบาลสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา จึงได้ทูลถวายตา
แหน่ง อภิธชมหารัฐคุรุ อนั เป็นสมณศกัด์ิสูงสุดแห่งคณะสงฆเ์มียนมา และที่ประชุมผนู้ าสูงสุดแห่งพุทธ
ศาสนาโลก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๕ ไดท้ ูลถวายตาแหน่งผนู้ าสูงสุดแห่งพระพุทธศาสนาโลก
เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สิ้นพระชนมเ์มื่อวนั พฤหสั บดีที่ ๒๔ ตุลาคม
๒๕๕๖ สิริพระชนมายุ ๑๐๐ พรรษา ๒๑ วัน ณ อาคารวชิรญาณสามัคคีพยาบาร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
สภากาชาดไทย